วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

กรณีศึกษา 17 ความปลอดภัยของบัตรเครดิตบนระบบอินเทอร์เน็ต



กรณีศึกษา 17 ความปลอดภัยของบัตรเครดิตบนระบบอินเทอร์เน็ต

1. จงอภิปรายสภาพทั่วไป ปัญหาและอุปสรร พร้อมทั้งความนิยมของการค้าอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) ในประเทศไทยว่าเป็นอย่างไร
ตอบ 
สำหรับระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันจะใช้มาตรฐานการเข้ารหัสข้อมูลด้านการค้าตามแบบของสหรัฐอเมริกา โดยใช้การเข้ารหัสข้อมูลแบบ 232 หลัก และสำหรับข้อมูลด้านธุรกรรม (Transaction) ต่างๆ ที่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในหน่วยงานรัฐบาลและด้านการทหารนั้นจำเป็นต้องให้ความปลอดภัยในระดับที่สูงกว่าปกติ ดังนั้นการเข้ารหัสควรต้องเป็นอย่างน้อย 309 หลัก มีข้อมูลยืนยันจากศาสตราจารย์ Herman Te Ricle ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการเข้ารหัสข้อมูล เขาได้พยายามทดลองถอดรหัสข้อมูลทั้งแบบ 232 หลัก และ 309 หลัก แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ เขาได้สรุป การจะถอดรหัสข้อมูลชนิด 232 หลักคงต้องใช้เวลาอีกไม่น้อยกว่า 25 ปีจึงจะสำเร็จ

2. จงนำเสนอกลยุทธ์ทางด้านการตลาดของการค้าอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) โดยให้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาสินค้าที่แตกต่างกัน ชนิดที่นำมาทำการซื้อขายผ่านเว็บ (Web)
ตอบ 
สังคมแห่งยุคเทคโนโลยีสารสนเทศนับวันจะเจริญก้าวหน้าแบบก้าวกระโดด ทุกวิชาชีพล้วนแล้วแต่มุ่งสู่สังคมอินเทอร์เน็ต มีการนำอินเทอร์เน็ตมาใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์หน่วยงานหรือบริษัทของตน นัยว่าเป็นการสร้างภาพลักษณ์ให้ประชาชนได้เชื่อถือหน่วยงานเป็นเบื้องแรก และเริ่มนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการให้ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนเริ่มพัฒนาอย่างจริงจังเพื่อสร้างมูลค่าให้กับเว็บไซต์ (web site) มากยิ่งขึ้น จากจุดนี้เองในเมื่อบริษัทเริ่มมีเว็บไซต์เกิดขึ้น สิ่งหนึ่งที่ถือเป็นหัวใจสำคัญในเบื้องแรกคือ จะทำอย่างไรจึงจะทำให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย คลิกเข้ามายังเว็บไซต์บริษัทของเราเพื่อจะได้ตัดสินใจซื้อสินค้า หรือเลือกชมสินค้าได้ตามความพอใจ

3. จงอภิปรายการเข้ารหัสแบบ RSA และแบบอื่น ๆที่ท่านคิดว่าน่าจะดีกว่าแบบ RSA สำหรับที่จะดูแลรักษาข้อมูลของท่าน (อาจจะค้นคว้าเพิ่มเติมจากตำราอื่น ๆ)
ตอบ 
การเข้ารหัสข้อมูลแบบ RSA จำนวน 155 หลักนั้น หากพิจารณาในระยะยาวแล้วจะพบว่าเป็นรหัสที่สั้นเกินไป และไม่เหมาะที่จะใช้สำหรับการค้าอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น